ฝึกอบรมวันแรก ภาคทฤษฏี 6 ชั่วโมง |
|
- กฏกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่นและหม้อน้ำ
- มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่นและชนิดของปั้นจั่น
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่และอุปกรณ์ช่วยยก
- บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณมือแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
- ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
|
notes หัวข้อฝึกอบรมเพิ่มเติมจากโครงสร้างที่กฎหมายกำหนด วันแรก |
- หลักเกณฑ์และวิธีแบ่งประเภทของอุปกรณ์ช่วยยก
เงื่อนไขการนำอุปกรณ์ช่วยยกประเภทมาตรฐานและประเภทสร้างขึ้นตามความเหมาะสมใช้งาน (standard and non-standard lifting equipment) มาใช้ในสถานประกอบกิจการ ตารางตรวจสภาพอุปกรณ์ช่วยยกตามระยะเวลา (inspection interval)
|
ฝึกอบรมวันที่สอง ภาคทฤษฏี 3 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ 3 ชั่วโมง |
|
- การใช้สัญญาณมือ
- การเลือกใช้และการตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยยก
- วิธีผูกมัดสิ่งของและการยกเคลื่อนย้าย
- การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
- ภาคปฏิบัติและทดสอบภาคปฏิบัติ
|
การทดสอบภาคปฏิบัติเสมือนจริง ซึ่งต้องมีการทดสอบการยกและการเคลื่อนย้ายสิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย |
notes หัวข้อฝึกอบรมเพิ่มเติมจากโครงสร้างที่กฎหมายกำหนด วันที่สอง |
- จุดศูนย์ถ่วง ภาวะรับโหลดแบบไดนามิกส์ของอุปกรณ์ช่วยยกและการยึดเกาะชิ้นงานแบบสมดุลโหลด
- วิธีคำนวณการรับแรงของสลิงและโหลดชาร์ท
|