|
|
| safety induction, train the trainer | ผู้ฝึกสอน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานสำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ (ตาม พรบ.ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย) สามวัน |
ทฤษฎีเชิงปฏิบัติการ
สาธิตและเวิร์คช๊อฟ |
ติดต่องานฝึกอบรม แปลเอกสารเซฟตี้ ที่ปรึกษาจัดทำระบบ & ระเบียบปฏิบัติงาน | ติดต่องานฝึกอบรม : บริษัท เอเซีย แสงตะเกียง จำกัด | E-mail sangtakieng@gmail.com Telephone 093 7719222 | Facebook : รณรงค์ แสงตะเกียง |
ฝึกอบรมวันแรก | หน่วยที่หนึ่ง : เทคนิควิทยากร & ผู้ฝึกสอนด้านความปลอดภัย
|
รูปแบบฝึกอบรม สื่อการสอน
การเตรียมตัวของวิทยากรก่อนฝึกอบรม
| - องค์ประกอบขั้นพื้นฐานงานฝึกอบรม
ลักษณะการฝึกอบรม
- เจ็ดรูปแบบการฝึกอบรมและการเทคนิคการฝึกอบรมแบบผสมผสานหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน
- สื่อการสอน รูปแบบสื่อการสอน
การใช้สื่อการสอน
- เทคนิค power
point เทคนิคการสอน
วิธีนำเสนองานฝึกอบรม
- เวิร์คช๊อฟสื่อการสอน
|
การเตรียมความพร้อมก่อนทำหน้าที่วิทยากรหรือผู้ฝึกสอน
| - แนวคิดเวิร์คช๊อฟ
เทคนิคเวิร์คช๊อฟแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม
- การเตรียมตัวเกี่ยวกับ
องค์ความรู้และทักษะการพูด
- การเตรียมตัวเกี่ยวกับ
บุคลิกภาพ
- การเตรียมตัวเกี่ยวกับ
แผนการสอนและเทคนิคนำเสนอ
- การเตรียมตัว
เกี่ยวกับบริหารเวลา
|
ฝึกอบรมวันที่สอง | สถานที่ฝึกอบรม การประเมินผล | - สถานที่ฝึกอบรม
สภาพแวดล้อมการฝึกอบรม
- การจัดห้องฝึกอบรม การจัดห้องสัมมนา
การจัดห้องเพื่อประชุม
ความแตกต่างที่ต้องเข้าใจ
- สิ่งเร้าภายนอก
สิ่งเร้าภายในปัจจัยที่ต้องควบคุม
- เวิร์คช๊อฟการจัดการฝึกอบรม
|
หน่วยที่สอง : องค์ความรู้ที่ต้องนำไปฝึกอบรม | ความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
| - ทำไมต้องทำงาน คนต้องการสิ่งใดจากการทำงาน
- ความต้องการของคน เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
- พฤติกรรมความปลอดภัยของคนในที่ทำงาน
- สภาพแวดล้อมการทำงานและสิ่งคุกคามสุขภาพทางด้านกายภาพ
เคมี ชีวภาพและทางด้านเออร์กอนโอมิกส์ (Physical, Chemicals, Biological and Ergonomics)
- ปัจจัยสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวังผลกระทบสิ่งแวดล้อม
- ปิรามิดความสูญเสีย ระดับความสูญเสียจากอุบัติเหตุ
|
วิธีป้องกันควบคุมอุบัติเหตุและกฎหมายด้านความปลอดภัย
| - ทฤษฏีความสูญเสีย (Loss
Causation Model : Frank E.Bird and Germain) รากฐานสำคัญของกำกับดูแลด้านความปลอดภัย
- แนวคิดทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและการประยุกต์ใช้กับการป้องกัน
ควบคุมอุบัติเหตุ
- องค์ประกอบความปลอดภัยในที่ทำงาน วิธีป้องกันควบคุมอุบัติเหตุเป็นลำดับขั้น Hierarchy
of Control
- กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
|
ฝึกอบรมวันที่สาม |
แนวปฏิบัติ
พฤติกรรมพึงประสงค์ในที่ทำงานและข้อบังคับด้านความปลอดภัย
| - กฎหลักด้านความปลอดภัย Cardinal
Rules
- แนวปฏิบัติ
พฤติกรรมทางด้านความปลอดภัยที่พึงประสงค์ในที่ทำงาน
| - ความปลอดภัยการเข้าออกบริษัท
วินัยการจราจรเดินเท้าและการใช้ยานยนต์ในเขตบริษัท
- การแต่งกายในเขตสำนักงาน การใช้พีพีอีในเขตโรงงาน
- การทิ้งขยะ การรักษาความสะอาดพื้นที่ การทำให้เกิดประกายไฟและพื้นที่สูบบุหรี่
- การรักษาสิ่งแวดล้อมตามแนวคิดสามปอ เจ็ดอาร์
- ก การถ่ายรูป การใช้โทรศัพท์มือถือ
- ความปลอดภัยการใช้ยานพาหนะนำของเข้าออกบริษัท
|
การขออนุญาตทำงาน การตัดแยกพลังงาน เขตอันตราย
เทคนิคการปิดกั้นควบคุมพื้นที่และการควบคุมการทำงานร่วมในพื้นที่เดียวกัน
| - การขออนุญาตทำงาน การตัดแยกพลังงาน
- การใช้สัญลักษณ์ความปลอดภัย
ตาข่ายกันของตก แถบกั้นความปลอดภัย
รั้วแข็งและการใช้อุปกรณ์ปิดกั้นควบคุมพื้นที่ทำงานอื่นๆ
- วิธีปิดกั้นควบคุมพื้นที่ทำงาน วิธีปิดกั้นควบคุมเขตอันตราย
|
อุปกรณ์ฉุกเฉิน
ภาวะฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน | - อุปกรณ์ดับเพลิง อ่างล้างตาฉุกเฉิน
- ภาวะฉุกเฉินและวิธีปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
- การอพยพ จุดรวมพล วิธิปฏิบัติเมื่ออยู่ที่จุดรวมพล
- กรณีศึกษาเหตุฉุกเฉินไฟไหม้ แผนฉุกเฉินเหตุเพลิงไหม้
|
|
|
|
|
VISIT |
สถิติวันนี้ |
191 คน |
สถิติเมื่อวาน |
129 คน |
สถิติเดือนนี้ สถิติปีนี้ สถิติทั้งหมด |
1880 คน 54026 คน 936078 คน |
เริ่มเมื่อ 2012-10-14 |
| |
| | |