Sangtakieng.com
Confined Space Rescue
แผนฉุกเฉิน แผนช่วยเหลือช่วยชีวิต
นำเสนอและงานเขียน เรียบเรียง : รณรงค์ แสงตะเกียง

หัวข้อย่อยที่จะนำเสนอในลำดับนี้
ระดับแผนฉุกเฉิน แผนช่วยเหลือในที่อับอากาศ
การดับเพลิงและความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการดับเพลิง
อุปกรณ์ช่วยเหลือ ช่วยชีวิตระดับพื้นฐาน
กระบวนการคิดและการจัดทำแผนช่วยเหลือ แผนฉุกเฉิน

ระดับแผนฉุกเฉิน แผนช่วยเหลือในที่อับอากาศ
qระดับที่หนึ่ง : ให้สั่งอพยพคนออกจากที่อับอากาศโดยที่ผู้ปฏิบัติงานไม่ได้รับอันตรายใดๆ, ให้ปฏิบัติการตามแผนฉุกเฉินนี้เมื่อ :
  • A.มีสัญญาณไฟไหม้ในพื้นที่ปฏิบัติงานใกล้เคียงซึ่งส่งผลกระทบถึงงานที่กำลังปฏิบัติอยู่
  • B.มีสัญญาณอพยพ
  • C.ตรวจวัดพบว่ามีบรรยากาศอันตรายหรือมีแนวโน้มจะเกิดอันตรายในที่อับอากาศ
  • D.ผู้ทำหน้าที่ช่วยเหลือหรือทีมช่วยเหลือทีมกู้ภัย (Standby Person or Rescue & First Aid Team) มีเหตุปฏิบัติหน้าที่ต่อเนื่องไม่ได้
  • E.มีข้อขัดข้องเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างผู้ทำหน้าที่ช่วยเหลือกับผู้ปฏิบัติงานหรือระหว่างผู้ช่วยเหลือกับทีมกู้ภัย

ระดับที่สอง : เหตุการณ์ผิดปกติที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ ซึ่งผู้ประสบเหตุมีสติและสามารถออกจากที่อับอากาศได้ด้วยตนเอง
  • A.ประสานให้ผู้ประสบเหตุออกจากที่อับอากาศ
  • B.ประสานงานทีมช่วยเหลือ ทีมกู้ภัยเพื่อทราบและนำผู้ประสบเหตุส่งสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุด ห้ามไม่ให้ผู้ประสบเหตุเดินหรืออยู่โดยลำพัง
qระดับที่สาม : ทีมช่วยเหลือ ทีมกู้ภัยต้องเข้าไปช่วยเหลือเบื้องต้นภายในที่อับอากาศ, พื้นที่กว้างพอ สามารถลงไปช่วยได้และไม่มีข้อจำกัดของเวลา
qระดับที่สี่ : การช่วยเหลือจากภายนอกที่อับอากาศ ทีมช่วยเหลือ ทีมกู้ภัยไม่สามารถเข้าไปช่วยได้เช่นที่คับแคบหรือบรรยากาศภายในเกิดอันตราย

qระดับที่ห้า : ผู้ประสบเหตุไม่สามารถออกมาได้ด้วยตนเองหรือหมดสติ ผู้ช่วยเหลือ ทีมกู้ภัยต้องเข้าไปช่วยเหลือในที่อับอากาศโดยเร่งด่วน ภายใต้เวลาจำกัด
  • A.ประสานทีมช่วยเหลือ ทีมกู้ภัยเข้าไปยังที่อับอากาศซึ่งเกิดเหตุ
  • B.หากมีอาการบาดเจ็บร่วมเกี่ยวกับกระดูกหัก ให้ดามพันส่วนที่กระดูกหักก่อนเคลื่อนย้าย, หากทางเข้าออกที่อับอากาศเป็นแนวนอนแนะนำให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้แปลลาก, แนวดิ่งอาจใช้แปลหรือใช้วิธีชักดึงขึ้นโดยกว้าน

การดับเพลิงและความเข้าใจเกี่ยวกับการดับเพลิง
2.อุปกรณ์ดับเพลิง (Fire Extinguisher)-ในกรณีที่งานปฏิบัติการที่อับอากาศ เป็นงานแหล่งความร้อนหรือก่อให้เกิดประกายไฟซึ่งอาจจะส่งผลให้เกิดไฟไหม้, ให้พิจารณาวางแผนเพื่อใช้อุปกรณ์ดับเพลิงตามประเภทของเพลิงไหม้ดังนี้
       

อุปกรณ์ช่วยเหลือ ช่วยชีวิตระดับพื้นฐาน
อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
ที่อับอากาศมีกระบวนการปฏิบัติงานที่หลากหลาย ลักษณะของอันตรายที่อาจเกิดและระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ก็จะแตกต่างกันออกไปด้วย ฉะนั้นการเตรียมการแผนฉุกเฉิน แผนกู้ภัยและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องก็แตกต่างกันออกไปเช่นกัน ทั้งนี้คงขึ้นอยู่กับผลการทำประเมินสภาพงานนั่นเอง

การบ่งชี้อันตรายที่อาจเกิด และเตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลไว้ที่จุดปฏิบัติงาน-จากการศึกษาพบว่าอาจเกิดอันตราย 3 ลักษณะคือ อาจเกิดบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและผิวหนังลักษณะเป็นแผลเปิดหรือแผลปิด, ตกกระแทกกระดูกหัก, ผู้ปฏิบัติงานเป็นลมหรือหมดสติจากบรรยากาศอันตราย บริษัทฯ จึงต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ดังนี้เป็นขั้นต่ำ

อุปกรณ์ช่วยเหลือ ช่วยชีวิตนอกเหนือจากอุปกรณ์ปฐมพยาบาล

      
        

กระบวนการคิดและการจัดทำแผนช่วยเหลือ แผนฉุกเฉิน

เขียนต่อคราวหน้าครับผม

กลับหน้าแรก : คลิ๊กตรงนี้
กลับเมนูหลัก ความปลอดภัยในงานปฏิบัติการที่อับอากาศ : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนู คุณสมบัติของผู้เกี่ยวข้องกับงานปฏิบัติการที่อับอากาศ : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนูวิธีการ หลักเกณฑ์บ่งชี้ที่อับอากาศในสถานประกอบการ : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนู บทบาท หน้าทีและความรับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้องฯ : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนู การขออนุญาตเข้าทำงานและการขอยกเลิกปฏิบัติการที่อับอากาศ : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนู การประเมินสภาพงานและมาตรการควบคุมอันตราย : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนู การตรวจวัดก๊าซและเทคนิคการระบายอากาศ : คลิ๊กตรงนี้
ไปยังเมนู อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลและ SCBA : คลิ๊กตรงนี้

  
MENU
 
WEB LINK
 
VISIT
 สถิติวันนี้ 21 คน
 สถิติเมื่อวาน 111 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
2182 คน
23513 คน
905565 คน
เริ่มเมื่อ 2012-10-14
 
Copyright (c) 2006 by Ronnarong